การกำกับการแสดง
ทฤษฎีศิลปะการละคร วุฒิการศึกษา Ph.D. (Drama) University of
Bristol (United Kingdom) MA. (Theatre) The
University of New South Wales
(Australia) อ.บ.
(ศิลปการละคร)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน พ.ศ.
2541 - ปัจจุบัน อาจารย์
ประจำสาขาวิชาศิลปะการแสดง
คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2560 - 2564 คณบดี
คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2548 – 2552
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2542 – 2544
ประธานโปรแกรมวิชานาฏศิลป์และการละคร
สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2546 – 2547
ประธานโปรแกรมวิชานาฏศิลป์และการละคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2540 - 2541
ผู้ช่วยผู้กำกับการแสดง บริษัท
เจเอสแอล จำกัด พ.ศ. 2539 - 2540
ฝ่ายข้อมูลและบทรายการวิทยุ FM 106.5
Family Delight บริษัท
วิไลเซ็นเตอร์แอนด์ซันส์ จำกัด พ.ศ.
2538 - 2539
ผู้ช่วยดำเนินรายการ
“ทุกข์ปัญหาชีวิต” คลื่น AM
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มูลนิธิเพื่อนช่วยเพื่อน
ผลงานทางวิชาการ ตำรา /
เอกสารประกอบการสอน พ.ศ. 2546
ตำราวิชา
สุนทรียภาพแห่งชีวิต
(แต่งร่วม) พ.ศ. 2550
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชาการกำกับการแสดง 1 พ.ศ. 2559
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น
(แต่งร่วม) งานวิจัย พ.ศ.
2550
การศึกษาเปรียบเทียบบทละครของแซมมวล
เบกเกตต์
กับหลักธรรมในพุทธศาสนา
(สนับสนุนโดย มรภ.สวนสุนันทา) พ.ศ.
2557
Reading Samuel
Beckett in the Light of Buddhism: A Case
Study in the Tradaptation of Waiting
for Godot into a Thai Buddhist
Context
(ดุษฎีนิพนธ์) พ.ศ. 2563
พุทธทรรศะในสื่อศิลปะการแสดงร่วมสมัย
(สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย
สกว.) บทความวิจัย /
บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ Chutima
Plengkhom. (2009). The Transformation
from Modernism to Postmodernism in
Samuel Beckett’s Drama.
Journal of the Faculty of Arts,
Silpakorn University, 31(1), 50-70.
ชุติมา
มณีวัฒนา. (2553). ความหมายและกลวิธีการประพันธ์บทละครของแซมมวล
เบกเกตต์กับหลักธรรมในพุทธศาสนา.
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 1, น.
89-109. ภัทรนันท์ ภูยาทิพย์ และ
ชุติมา มณีวัฒนา. (2562) การปรับปรน
จากหุ่นกระบอกภาคกลางมาสู่
หุ่นกระบอกภาคอีสาน: กรณีศึกษา
คณะรอดศิรินิลศิลป์และคณะเพชรหนองเรือ.
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปีที่ 11 ฉบับที่ 2. หน้า 140
-155. อักษราภัค พีบุ้ง
และ ชุติมา มณีวัฒนา. (2562). การศึกษาองค์ประกอบที่ไม่เหมาะสมในละครซีรีส์ไลน์ทีวี.
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1. หน้า 1-27.
จิระประภา โพธิเล และ ชุติมา
มณีวัฒนา. (2563). พีรพงศ์
เสนไสย: แนวทางสร้างสรรค์การแสดงแสง
สี เสียงประกอบจินตภาพ.
วารสารมนุษย์สังคมสาร (มสส.). ปีที่
18 ฉบับที่ 3. หน้า 1-21.
บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์จากการประชุมวิชาการระดับชาติ
/
นานาชาติ Chutima
Maneewattana. 2017.
A Western Treatment
of Non-western National Identity: A Case
Study of The King and I. In C. Kerdpitak
et al (Ed.), Proceeding of The
2017 ICBTS International Academic
Multidisciplinary Research Conference,
Berlin, 23-25 October. On-line
Publication. P. 200-204. Chutima
Maneewattana. 2018. Racine’s
Phèdre:
AMasterpiece of Psychological
Drama. In Kai Heuer et al
(Ed.), Proceeding of The 2018
ICBTS International Academic
Multidisciplinary Research Conference,
Zurich, 20-22 July. On-line Publication.
P. 225-228. Chutima Maneewattana.
2018. When Vices Deserve to
be Laughed: Moliere’s The
Miser. In Kai Heuer et al
(Ed.), Proceeding of The 2018
ICBTS International Academic
Multidisciplinary Research Conference,
Zurich, 20-22 July. On-line Publication.
P. 229-233. ชุติมา มณีวัฒนา.
(2561). แซมมวล เบกเกตต์
กับการตีความที่ไร้ขอบเขต.
การประชุมวิชาการด้านศิลปกรรม
ระดับชาติครั้งที่ 1
“ศิลปกรรมศาสตร์กับสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย”
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. หน้า
61-67. ศักดิ์ชัย เอี่ยมกระสินธุ์
และ ชุติมา มณีวัฒนา. (2563). การประยุกต์ใช้ทฤษฎีผู้นำ
4 ทิศ เพื่อวิเคราะห์พัฒนาการของตัวละคร
กรณีศึกษา: บ้านตุ๊กตาของ เฮนริค
อิบเซ่น. Proceedings of
HMA's 40th Anniversary National and
International Conference Approaching the
Future through Multidisciplinary
Research, school of Humanities and
Applied Arts University of the Thai
Chamber of Commerce Thailand.
pp.427-445. ธัชกร นันทรัตนชัย และ
ชุติมา มณีวัฒนา. (2564). ที่มาของวาทกรรม
“เมรีขี้เมา”
ในสังคมไทย. การประชุม
วิชาการเสนอผลงานวิจัย
ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 12.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. หน้า 607 -
616. Hanmei Tan and Chutima
Maneewattana. (2021). What is Real:
Authenticity and Localization in Chinese
Rap Music. 12th International
Academic Conference of Suan Sunandha
Rajabhat University Bangkok Thailand.
“Global Goals, Local Action:
Looking Back and Moving Forward
2021”. pp
165-173. ประสบการณ์ด้านการเขียนบทละครและกำกับการแสดง พ.ศ.
2539
ร่วมเขียนบทละครโทรทัศน์ ของบริษัท
เจเอสแอล จำกัด เรื่อง “คนละฝา
หลังคาเดียว”
ออกอากาศทางสถานีวิทยุกองทัพบกช่อง
5 พ.ศ. 2540–41
ร่วมเขียนบทละครและเป็นผู้ช่วยผู้กำกับละครเรื่อง
“บริษัทถนัดฝัน” ของบริษัท
เจเอสแอล จำกัด
ออกอากาศทางสถานีวิทยุกองทัพบกช่อง
5 พ.ศ. 2540–41
ร่วมเขียนบทและช่วยกำกับการแสดงรายการ
“You Can Do เรียนรู้สู้ภาษา”
ให้กับธนาคารกสิกรไทย พ.ศ. 2547
บทรายการกิจกรรมสนทนา
และการแสดงบนเวที
ในงานฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 222 ปี
ณ ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ตอน
“เพลงลูกทุ่งกับกรุงเทพมหานคร” พ.ศ.
2547
เขียนบทและกำกับการแสดงละครเรื่อง
“เมื่อเมฆฝนหล่นฟ้า”
ได้รับรางวัลชมเชย
ในการประกวดละครวันเอดส์โลก ณ
สถาบันราชภัฏพระนคร พ.ศ. 2547
เขียนบทและกำกับการแสดงละครเรื่อง
“น้องไก่อยากได้พลอย”
ชนะเลิศการประกวด ละครเวที ในโครงการ
“กล้าทำดี”
โดยมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย พ.ศ.
2547
เขียนบทละครร้อยแก้ว
และช่วยกำกับการแสดงละครเรื่อง
“เงาะป่า” จัดแสดง ณ
หอประชุมสุนันทานุสรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ.
2548
เขียนบทและควบคุมการผลิตละครเวที
เรื่อง “7 ดรุณี” จัดแสดง ณ
หอประชุมสุนันทานุสรณ์ พ.ศ.
2551
เขียนบทและกำกับการแสดงละครเรื่อง
“เกมสมมุติ มีเรา...มีเข(ล)า”
จัดแสดงในงานเทศกาล ละครกรุงเทพฯ (BTF)
ครั้งที่ 7 ณ
ถนนพระอาทิตย์,
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา,
มะขามป้อมสตูดิโอ,
และคณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.
2555
เขียนบทและกำกับการแสดงละครเรื่อง
“คอยคุณปุณ”
(แปลและดัดแปลงจาก Waiting for
Godot) จัดแสดง ณ The Style by
TOYOTA , Blue Box Studio (M
Theatre) และ
คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.
2557
เขียนบทละครโทรทัศน์เรื่อง “ฝีมือชน
คนสร้างชาติ เดอะซีรีส์”
(เขียนร่วม) ออกอากาศทางช่อง
scgfoundation Youtube พ.ศ. 2560
เขียนบทละครโทรทัศน์เรื่อง
“บัลลังก์ดอกไม้” (เขียนร่วม)
ให้กับบริษัทเวฟทีวี จำกัด
ออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง
3 วิทยากร /
อาจารย์พิเศษ อาจารย์พิเศษคณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พ.ศ.
2548 – 2552) อาจารย์พิเศษ
คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2551,
2558 - 2559) วิทยากรพิเศษ
รายวิชาศิลปะการแสดง และ อารมณ์ศึกษา
โรงเรียนปัญญาประทีป (พ.ศ. 2558 -
ปัจจุบัน) วิทยากรรับเชิญการอบรมหลักการเขียนบทละคร
นักศึกษแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี (พ.ศ.
2556- ปัจจุบัน) วิทยากรโครงการ
“การพัฒนาศักยภาพเยาวชนสู่การเป็นนักสื่อสารเพื่อสุขภาวะ"
โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) พ.ศ. 2559-2560 วิทยากรอบรม
ด้านการสื่อสารสร้างสรรค์และสร้างสุข
ให้แก่ องค์กรต่างๆ อาทิ ศาลฎีกา,
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเพชรบุรี,
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดราชบุรี,
โรงพยาบาลอ่างทอง, มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขตนครสวรรค์,
ศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลัอมในการทำงาน
มหาวิทยาลัยมหิดล, ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล, บริษัทไลท์ซอร์ส,
บริษัทพรีเซนเทีย, บริษัทชิเซโด้
(ไทยแลนด์), บริษัทไทย ฟูรูคาวา ยูนิคอม
เอ็นจิเนียริ่ง,
มูลนิธิพระมหาไถ่เพื่อการพัฒนาคนพิการ,
มูลนิธิหอธรรมพระบารมี กรรมการ กรรมการตัดสินการประกวดละครวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับกรุงเทพมหานคร และระดับประเทศ (พ.ศ.
2541 และ
2547) กรรมการตัดสินการประกวดละครรางวัล
“สดใสอวอดส์” พ.ศ.
2549, 2550, 2551, 2555,
2558 กรรมการตัดสินการประกวด
“ละครธรรมะส่งเสริมค่านิยมหลัก 12
ประการ” โดย กรมศาสนา (พ.ศ.
2557) กรรมการตัดสินการประกวดสื่อสร้างสรรค์
รอบชิงชนะเลิศ “โครงการ Wake up
Me(dia)
เด็กยุคใหม่สื่อสารอย่างสร้างสรรค์”
(พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน)
ประวัติศาสตร์และวรรณกรรมการละครตะวันตก
การเขียนบทละคร
การศึกษาเปรียบเทียบศิลปะการละครกับศาสตร์ด้านต่างๆ
อาทิ
พุทธศาสนา มิติด้านใน
จิตวิทยา